Page 8 -
P. 8

ฉนวนจากกาบมะพร้าวสำาหรับป้องกันความร้อนและเสียง


                             ภายในอาคารเพื่อใช้แทนฉนวนแร่ใยหิน



                                                                                                ดร.รติพร มั่นพรหม
                                                                                          มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                 แร่ใยหิน เป็นอนุภำคขนำดเล็กที่เมื่อเกิดกำรฟุ้งกระจำย
          แล้ว อำจท�ำให้เกิดโรคร้ำยแรงในระยะเวลำต่อมำจำกกำรที่อนุภำค
          แร่ใยหินเข้ำไปฝังตัวในอวัยวะภำยในร่ำงกำย ทั้งโรคมะเร็งปอด
          หรือโรคทำงเดินหำยใจ ซึ่งแร่ใยหินนี้ถูกน�ำมำใช้เป็นส่วนประกอบ
          ในหลำยผลิตภัณฑ์ เช่น เบรกรถยนต์ แผ่นฉนวนในอำคำร เป็นต้น
                 บริษัท  มหพันธ์ไฟเบอร์ซีเมนต์  จ�ำกัด  ได้พัฒนำ
          ฉนวนกันควำมร้อนและเสียงภำยในอำคำรจำกกำบมะพร้ำว
          เพื่อเป็นผลิตภัณฑ์ทดแทนฉนวนแร่ใยหิน โดยแผ่นฉนวนจำก
          กำบมะพร้ำวที่พัฒนำขึ้นนี้ได้น�ำเอำขุยและใยมะพร้ำวซึ่งเป็น
          ผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกกำรตีกำบมะพร้ำว และถือเป็นวัสดุเหลือทิ้ง
          จำกกระบวนกำรตีเส้นใยมะพร้ำวมำใช้ให้เกิดประโยชน์และ
          สร้ำงมูลค่ำเพิ่มให้กับวัสดุเหลือทิ้งทำงกำรเกษตร นอกจำกนี้
          จำกกำรเติมขุยและใยมะพร้ำวท�ำให้ผลิตภัณฑ์มีน�้ำหนักเบำ
                 ผลิตภัณฑ์ฉนวนจำกกำบมะพร้ำวดังกล่ำว มีโครงสร้ำง
          เป็นแบบแซนวิชซึ่งประกอบด้วยชั้นตรงกลำงที่มีส่วนผสมของ
          ขุยมะพร้ำว ใยมะพร้ำวและซีเมนต์ซึ่งใช้เป็นตัวประสำน และ
          ประกบด้วยแผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์ทั้งสองข้ำง เพื่อให้ง่ำยต่อกำร
          น�ำไปใช้โดยไม่ต้องปรับแต่งผนังด้วยกำรฉำบอีกครั้ง ซึ่งท�ำให้
          สำมำรถช่วยลดค่ำใช้จ่ำยในกำรติดตั้งได้อีกด้วย จำกกำรทดสอบ
          สมบัติพื้นฐำนของฉนวนจำกขุยและใยมะพร้ำว พบว่ำ ฉนวนขุย
          และใยมะพร้ำวสำมำรถต้ำนทำนแรงกดจำกกำรทดสอบตำม                       ตัวอย่างการติดตั้งใช้งาน
                                                  2
          มำตรฐำน TIS 109 - 2517 ได้ถึง 61.85 kg/cm  ซึ่งสูงกว่ำ   ค่ำมำตรฐำน (40 kg/cm ) และผ่ำนกำรทดสอบควำมต้ำนทำน
                                                                                  2
                                                              ควำมร้อนและเพลิงไหม้ส�ำหรับอำคำรที่อยู่อำศัย ตำมมำตรฐำน
                                                              BS 476 นอกจำกนี้ ยังสำมำรถป้องกันกำรส่งผ่ำนของเสียงที่ดี
                                                              ซึ่งเป็นสมบัติที่บ่งบอกควำมเป็นฉนวนกันเสียง โดยมีค่ำ STC
                                                              เท่ำกับ 58 (ตำมมำตรฐำนกำรทดสอบ ASTM E90) ซึ่งสูงกว่ำฉนวน
                                                              แร่ใยหิน (STC = 47) ผลกำรทดสอบเหล่ำนี้แสดงให้เห็นศักยภำพ
                                                              ของฉนวนจำกกำบมะพร้ำวในกำรใช้ทดแทนฉนวนแร่ใยหิน รวมถึง
                                                              ศักยภำพในกำรขยำยขอบเขตกำรใช้งำนไปยังอำคำรพำณิชย์และ
                                                              โรงแรมซึ่งต้องกำรวัสดุที่ป้องกันกำรส่งผ่ำนของเสียงในระดับสูง
                                                              กว่ำ STC 55 ซึ่งน�ำไปสู่โอกำสในกำรขยำยกำรผลิตในเชิงพำณิชย์
                                                              ต่อไป
                                                                     ผลงำนวิจัยดังกล่ำว เครือข่ำยองค์กรบริหำรงำนวิจัย
                                                              แห่งชำติ (คอบช.) โดยส�ำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ (วช.)

                            ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ                   ได้ให้กำรสนับสนุนกำรวิจัยเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกำรวิจัย
                                                              พื้นฐำน กำรวิจัยเชิงนโยบำยและกำรประยุกต์ใช้ประโยชน์
                                                              เชิงพำณิชย์และอุตสำหกรรม  ประจ�ำปีงบประมำณ  2560
                                                              ด้ำนผลกระทบกำรใช้แร่ใยหินและศึกษำวัสดุทดแทน


                                                                                    สำ�นักง�นคณะกรรมก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
          8                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13