Page 5 -
P. 5
คู่มือศึกษาพันธุ์กล้วยป่าในประเทศไทย
สำาหรับนักธรรมชาติวิทยา
อาจารย์ณรงค์ศักดิ์ สุกแก้วมณี
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
การพัฒนาคู่มือศึกษาพันธุ์กล้วยป่าประเทศไทยมีความ
หลากหลายทางทรัพยากรธรรมชาติ.ที่มีความส�าคัญ.เช่น.ทรัพยากร
ป่าไม้.พันธุ์พืช.สิ่งมีชีวิตต่าง.ๆ.ที่มีในปัจจุบันเกิดการท�าลาย.
พืชวงศ์กล้วยป่า (MUSACEAE).ในประเทศไทย.มีความ จนท�าให้เกิดการสูญหาย.สูญพันธุ์.จนท�าให้เกิดกระแสการอนุรักษ์.
ส�าคัญเป็นทรัพยากรทางด้านพืชอาหารในอนาคตของมนุษยชาติ. เพื่อปกป้อง.ดูแลรักษา.การศึกษาให้ความรู้ก็เป็นวิธีหนึ่งในการให้
และเป็นพืชที่มีความส�าคัญต่อระบบนิเวศในธรรมชาติ.มีแหล่ง ผู้เรียนหรือผู้สนใจ.โดยเฉพาะเยาวชน.ในการปลูกฝังจิตส�านึก
ก�าเนิดที่ส�าคัญในภูมิภาคอาเซียน.ซึ่งต้องมีการส�ารวจวิจัย.เก็บข้อมูล. ในการอนุรักษ์ธรรมชาติ.โดยการน�าความงามทางด้านศิลปะเข้ามา
เพราะพืชชนิดนี้ยังไม่มีใครในระดับนานาชาติเข้ามาส�ารวจอย่าง ประยุกต์และพัฒนาสร้างสรรค์ผลงาน.ผู้วิจัยได้ต่อยอดองค์ความรู้
จริงจัง. โดยผลงานวิจัยภาพวาดทางพฤกษศาสตร์พืชวงศ์ จากหนังสือภาพวาดพฤกษศาสตร์กล้วยป่าในประเทศไทยในมิติ
กล้วยป่าในประเทศไทย.เป็นการต่อยอดความรู้จากโครงการศึกษา. ทางศิลปะมาพัฒนาเป็น.“คู่มือศึกษาพันธุ์กล้วยป่าในประเทศไทย
ส�ารวจ.รวบรวมพืชวงศ์กล้วยป่า.(MUSACEAE).ในประเทศไทย. ส�าหรับนักธรรมชาติวิทยา” โดยได้แรงบันดาลใจจาก.Descriptors.
ของ.ภาควิชาพฤกษศาสตร์.คณะวิทยาศาสตร์.มหาวิทยาลัยมหิดล. for.banana.(Musa.spp.).เป็นคู่มือศึกษาพืชวงศ์กล้วย.ซึ่งได้รับ
โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.ศศิวิมล..แสวงผล.เป็นหัวหน้า การยอมรับในระดับสากลและหนังสือศึกษาพันธุ์ไม้ชนิดต่าง.ๆ.
โครงการ.โดยอาจารย์ณรงค์ศักดิ์.สุกแก้วมณี.ได้ท�าการส�ารวจ แต่เนื้อหาภายในเป็นงานวิชาการทางด้านพฤกษศาสตร์เฉพาะทาง.
และวาดภาพทางพฤกษศาสตร์.(botanical.illustration).ซึ่ง ซึ่งคนทั่วไปอาจไม่เข้าใจหรือเข้าใจได้ยาก.อีกทั้งบางเล่มจะใช้
ปรากฏในรูปผลงาน.เช่น.หนังสือ.108.พันธุ์กล้วยไทย.รายงานวิจัย เพียงแค่ภาพถ่ายซึ่งจะไม่สามารถอธิบายได้ละเอียดและเข้าใจ
ทางพฤกษศาสตร์ในส่วนของภาพประกอบ.เป็นต้น.งานวิจัยภาพวาด ไม่เหมือนกับภาพวาด.ดังนั้นแล้วผู้วิจัยจึงได้หยิบเนื้อหาทาง
พฤกษศาสตร์ฯ.ได้รับทุนวิจัยจากส�านักงานส่งเสริมงานวิจัย วิชาการทางด้านพฤกษศาสตร์ที่เข้าใจได้ยาก.มาแปลความ
ในอุดมศึกษา.ประจ�าปีงบประมาณ.2557.และ.2559.ซึ่งได้มี ผ่านกระบวนการวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ออกเป็นภาพผลงาน
การสร้างสรรค์ผลงานออกมาเป็นภาพวาดทางพฤกษศาสตร์ ที่เข้าใจได้ง่ายและมีความถูกต้องของข้อมูลซึ่งผ่านการตรวจสอบ
พืชวงศ์กล้วยป่าทั้งหมด.10.ชนิด.ที่มีการรายงานทางพฤกษศาสตร์. จากผู้เชี่ยวชาญทางด้านพฤกษศาสตร์มาเป็นอย่างดี.ภายใน
จ�านวน.20.ชิ้นงาน.เทคนิคสีน�้า.10.ชิ้น.และเทคนิคหมึกปากกา. จะประกอบด้วยการอธิบายการจ�าแนกลักษณะต่าง.ๆ.ของพืชวงศ์
10.ชิ้น.ซึ่งผลงานทั้งหมดนี้.ได้มีการน�าไปแสดงในงานประชุม กล้วยป่า.ยกตัวอย่างเช่น.ปลายใบ.โคนใบ.ก้านเครือ.ทิศทางก้านเครือ.
th
วิชาการพรรณพฤกษชาติประเทศไทย.ครั้งที่.16.(The.16 .Flora. ลักษณะปลี. ก้านซ้อนปลายกาบปลี. กระบวนการส�ารวจ
of.Thailand.Meeting).ณ.สวนพฤกษศาสตร์คิว.สหราชอาณาจักร. พืชที่เก็บข้อมูล.เรื่องราว.วิถีชีวิต.การน�าไปใช้ประโยชน์ของ
พร้อมทั้งน�าผลงาน.(copying).มอบให้ทางสวนพฤกษศาสตร์คิว. กล้วยป่า.ฯลฯ.โดยถ่ายทอดผลงานเป็นภาพวาด.พร้อมมีค�าบรรยาย
น�าไปใช้ประโยชน์.จากนั้นได้พัฒนาต่อยอดโดยการถอดองค์ความรู้ ประกอบที่เข้าใจง่าย.ซึ่งหนังสือคู่มือนี้เหมาะส�าหรับนักธรรมชาติ
มาเป็นหนังสือภาพวาดพฤกษศาสตร์กล้วยป่าในประเทศไทย วิทยารุ่นเยาว์.นักเรียน.นักศึกษา.ตลอดผู้มีความสนใจทั่วไป.และ
ในมิติทางศิลปะ. โดยมีเนื้อหาเรื่อง. ความรู้เรื่องภาพวาด เป็นตัวอย่างหนึ่งในการสร้างคู่มือศึกษาธรรมชาติสิ่งมีชีวิตต่าง.ๆ.
พฤกษศาสตร์.ความรู้เรื่องพืชวงศ์กล้วยป่า.การวาดภาพเทคนิคสีน�้า. ในเมืองไทยให้มีผลงานมากยิ่งขึ้นในระดับสากลโดยใช้ศิลปะเข้าไป
(water.color).เทคนิคหมึกปากกา.(pen.and.ink).และเทคนิค พัฒนาการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดอย่างเป็นวิทยาศาสตร์.เช่น.
การเก็บข้อมูลในพื้นที่จริง.(field.sketch).ถ่ายทอดเป็นภาษา การสังเกต.การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลผ่านกิจกรรม
ที่เข้าใจได้ง่าย.เหมาะสมกับนักเรียนทุกระดับชั้น.นักศึกษาทางด้าน ทางด้านศิลปะ.ซึ่งมีความสอดคล้องกับโครงการอนุรักษ์พันธุกรรม
ศิลปะ.นักศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์.ตลอดจนผู้สนใจทั่วไป. พืชอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ.สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ.
โดยเป็นการตกผลึกประสบการณ์การท�างานของผู้วิจัย.น�ามาสู่ สยามบรมราชกุมารี.ในโครงการสวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียน.
ในรูปแบบของหนังสือ.ซึ่งส�านักงานการอุดมศึกษาได้คัดเลือก โดยสามารถน�าไปใช้ในด้านการศึกษาในโรงเรียน.และสถานศึกษา
ไปตีพิมพ์เผยแพร่แก่สถาบันการศึกษาทั่วประเทศ ได้เป็นอย่างดี.ซึ่งได้น�าไปทดลองใช้กับนักเรียน.นักศึกษา.ผลลัพธ์
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.) (อ่านต่อหน้า 6)
National Research Council of Thailand (NRCT) 5