Page 7 -
P. 7

นักวิจัยไทย - จีนร่วมมือพัฒนาการวิจัย


                                              ด้านพลังงานทดแทนในระดับนานาชาติ




                                                         ในช่วง 10 ปีที่ผ่ำนมำ ทั่วโลกได้ตระหนักถึงควำมส�ำคัญของกำรขำดแคลน
                                                 พลังงำน รวมถึงปัญหำด้ำนสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น โดยทั่วโลกได้หันมำให้ควำมสนใจ
                                                 พลังงำนทำงเลือกเพื่อลดปัญหำขำดแคลนทรัพยำกรธรรมชำติและลดปัญหำกำร
                                                 ปล่อยมลพิษ ซึ่งเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นและเร่งด่วน ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ (วช.)
                                                 และ The National Natural Science Foundation of China (NSFC)
                                                 จึงได้ร่วมกันในกำรส่งเสริมและสนับสนุนงบประมำณกำรท�ำวิจัยร่วมและกิจกรรม
                                                 ด้ำนพลังงำนทดแทนภำยใต้โครงกำรควำมร่วมมือระหว่ำง วช. และ NSFC ซึ่ง
                                                 วช. ได้ลงนำมในบันทึกควำมเข้ำใจ (MOU) เมื่อปี พ.ศ. 2535 โดยมีวัตถุประสงค์
                                                 ที่จะส่งเสริมให้นักวิจัยไทยและนักวิจัยจีนได้มีโอกำสท�ำกำรวิจัยร่วมกัน ตลอดจน
                                                 ได้แลกเปลี่ยนควำมรู้และประสบกำรณ์ทำงกำรวิจัยในสำขำวิชำกำรต่ำง ๆ ตำมที่
                                                 ได้ตกลงร่วมกัน
                                                         จำกควำมร่วมมือดังกล่ำวจึงได้มีกำรจัดกำรสัมมนำร่วมไทย - จีน
                                                 ด้ำนพลังงำนทดแทนขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2551 ณ ประเทศไทย และได้รับ
                                                 กำรสนับสนุนจำก วช. และ NSFC อย่ำงต่อเนื่องโดยสลับกันเป็นเจ้ำภำพทุกปี ส�ำหรับ
                                                 ในปี พ.ศ. 2560 นี้ นับเป็นกำรสัมมนำร่วมไทย - จีน ด้ำนพลังงำนทดแทน ครั้งที่ 8 ซึ่ง
                                                 จัดขึ้นระหว่ำงวันที่ 19 – 22 พฤศจิกำยน 2560 ณ เมืองเซี่ยงไฮ้ สำธำรณรัฐประชำชนจีน




















          โดยมี Shanghai Jiao Tong University เป็นหน่วยงำนเจ้ำภำพ ให้ควำมส�ำคัญต่อกำรพัฒนำแหล่งพลังงำนทำงเลือกอื่น ๆ
          และหน่วยงำนประสำนงำนหลัก และในโอกำสนี้มีผู้แทนจำก วช.  นอกเหนือจำกแหล่งทรัพยำกรธรรมชำติที่มีอยู่ในปัจจุบัน และ
          นักวิชำกำรฝ่ำยไทยและจีน (จ�ำนวน 43 คน แบ่งเป็น นักวิจัยจีน  สนองตอบวัตถุประสงค์หลักของกำรสัมมนำฯ ในกำรเปิดโอกำส
          จ�ำนวน 24 คน นักวิจัยไทย จ�ำนวน 19 คน) และผู้สนใจเข้ำร่วม ให้นักวิจัยไทยและจีนได้พบปะและแลกเปลี่ยนเรียนรู้งำนวิจัย
          กำรสัมมนำฯ รวมทั้งสิ้นประมำณ 100 คน                 ที่แต่ละฝ่ำยมีควำมเชี่ยวชำญ เพื่อพัฒนำศักยภำพของนักวิจัย
                 กำรสัมมนำฯ ครั้งนี้ วช. และ NSFC มีเป้ำหมำยร่วมกัน สู่ระดับนำนำชำติต่อไป
          ในกำรสร้ำงโอกำสและสร้ำงช่องทำงให้กับนักวิจัยไทยและ
          นักวิจัยจีน ในกำรแลกเปลี่ยนองค์ควำมรู้ ผลักดันงำนวิจัย
          เพื่อช่วยพัฒนำเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภำพในกำรแก้ไขปัญหำ
          พลังงำนต่ำง ๆ  รวมถึงสร้ำงและพัฒนำเครือข่ำยนักวิจัยหน้ำใหม่
          ในสำขำพลังงำนทดแทน อันจะเป็นประโยชน์ต่อกำรพัฒนำงำน
          วิจัยระหว่ำงนักวิจัยไทยและนักวิจัยจีนต่อไปในอนำคต   นอกจำกนี้
          ควำมร่วมมือในระดับนำนำชำติด้ำนพลังงำนทดแทนยังสอดคล้อง
          กับกรอบกำรวิจัยมุ่งเป้ำของ วช. และถือเป็นประเด็นที่จะต้อง

         สำ�นักง�นคณะกรรมก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12