Page 5 - วช
P. 5

งานวิจัยเพ� อประชาชน



                        การเพิ่มผลผลิตและลดตนทุนการผลิตขาว



           ดวยการใชเชื้อจุลินทรียปฏิปกษสายพันธุที่มีประสิทธิภาพสูง



                                                                ศูนยวิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรียแหงชาติ
                                                                  สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)


                  ขาว (Oryza sativa L.) เปนพืชอาหารหลักที่สําคัญอยางมากตอสังคมไทยและประเทศในแถบเอเชีย
           ประเทศไทยถือเปนประเทศผูนําในการผลิตขาวที่มีคุณภาพสูงและสงออกไปยังตลาดโลกตลอดมาโดยเฉพาะ

           อยางยิ่งในดานการผลิตขาวหอมมะลิที่มีคุณภาพสูง สงออกไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา ฮองกง จีน มาเลเซีย
           แคนาดา อิหราน ฯลฯ ปจจุบันพบวาเกษตรกรผูปลูกขาวประสบปญหาในการผลิตขาวอยางตอเนื่อง
           ทั้งในดานผลผลิตขาวตอพื้นที่ อยูในอัตราที่มีระดับที่ตํ่ามาก และดานตนทุนการผลิตสูงขึ้นอยางตอเนื่อง  โดย
           ปญหาทั้งสองดาน เปนปญหาหลักที่สําคัญที่ทําใหเกษตรกรไทยเสียเปรียบในการแขงขันในการสงออกขาว
           ไปยังตลาดโลก โดยเฉพาะปญหาดานตนทุนการผลิตขาวที่สูงขึ้นซึ่งเปนความผันแปรตามตนทุนของปจจัย

           การผลิตขาว ไมวาจะเปนปจจัยดานคาจางแรงงาน ปุย สารเคมีกําจัดวัชพืช สารเคมีกําจัดศัตรูขาว สารเคมี
           บํารุงตนและผลผลิตขาว นํ้ามันสําหรับเครื่องจักรกลการเกษตร ตลอดจนราคาเครื่องจักรกลการเกษตรตาง ๆ
           ซึ่งปญหาตนทุนการผลิตขาวที่สูงขึ้นนี้สงผลกระทบตอดานเศรษฐกิจของเกษตรกรไทยเปนอยางมาก


                 สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ได ตามวิธีของเกษตรกรผูปลูกขาวในจังหวัดนครศรีธรรมราช
          สนับสนุนให รองศาสตราจารย ดร.วาริน อินทนา และคณะ โดยคาดหวังวาการบูรณาการดังกลาวจะชวยใหเกษตรกร

          นักวิจัยมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช  ผูปลูกขาวในจังหวัดนครศรีธรรมราชและผูสนใจสามารถผลิตขาว
          ทําการศึกษาวิจัยเรื่อง “บูรณาการการผลิตขาวเพื่อเพิ่ม ตามแบบวิธีที่ปฏิบัติกันทั่วไปและสงผลใหไดผลผลิตขาวที่มี
          ผลผลิตและลดตนทุนการผลิตโดยใชจุลินทรียและสารสกัด คุณภาพในปริมาณที่เพิ่มขึ้นและลดตนทุนในการผลิตขาวลงได
          จากพืชในพื้นที่ภาคเหนือตอนลาง” ซึ่งทําการศึกษาในเขต

          พื้นที่จังหวัดนครสวรรค และเรื่อง “รวบรวม คัดเลือกและ  ภาพที่ 1
          พัฒนารูปแบบเชื้อจุลินทรียที่มีประโยชนในทองถิ่นเพื่อ  การเตรียมสปอรสดแขวนลอยเชื้อรา T. asperellum
          ใชในการผลิตพืชในระบบเกษตรอินทรีย” ทําใหคณะนักวิจัยได  A = การลางสปอรสดเชื้อรา T. asperellum
                                                                     ออกจากเมล็ดขาวสุกพันธุเสาไหดวยนํ้าสะอาด
          เชื้อจุลินทรียปฏิปกษทองถิ่น 2 ชนิด คือ เชื้อรา Trichoderma   B = ลักษณะสปอรสดแขวนลอยเชื้อรา T. asperellum

          asperellum สายพันธุ NST-009 (ชื่อเดิม : เชื้อรา Trichoderma   ที่ผานการกรองแยกเมล็ดขาวสุกออกแลว
          harzianum สายพันธุ NST-009) และเชื้อแบคทีเรีย Bacillus
          subtilis สายพันธุ B2 ซึ่งเชื้อจุลินทรียปฏิปกษทั้ง 2 สายพันธุ
          ไดผานการคัดเลือกวามีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมโรค

          เมล็ดดางและโรคกาบใบเนาของขาว อีกทั้งยังชวยสงเสริมการ
          เจริญเติบโตของขาว พริก และคะนาได ดังนั้นคณะนักวิจัยจึง
          นําแนวทางการใชเชื้อจุลินทรียปฏิปกษ 2 สายพันธุที่ผานการ
          คัดเลือกมาปรับใชและทดลองศึกษายืนยันผลในพื้นที่จังหวัด

          นครศรีธรรมราช โดยวางแผนนํามาบูรณาการรวมกับความรู
          จากภูมิปญญาของเกษตรกรในพื้นที่ ตามแนวทางการผลิตขาว

                                                                             A                         B

                                                                                    (อานตอหนา 6)


         สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10