Page 7 - วช
P. 7

4. การใชเชื้อรา T. asperellum สายพันธุ NST-009 รวมกับเชื้อแบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ B2 สามารถ
           เพิ่มคุณภาพของผลผลิตขาวไดดีที่สุด โดยเพิ่มจํานวนเมล็ดดีตอรวง 13.12 เปอรเซ็นต เพิ่มจํานวนเมล็ดทั้งหมดตอรวง
           5.19 เปอรเซ็นต ลดจํานวนเมล็ดดางตอรวง 42.59 เปอรเซ็นต และลดจํานวนเมล็ดลีบตอรวง 14.45 เปอรเซ็นต สามารถ

           เพิ่มจํานวนเมล็ดดีตอรวง 5.51 เปอรเซ็นต เพิ่มจํานวนเมล็ดทั้งหมดตอรวง 1.99 เปอรเซ็นต ลดจํานวนเมล็ดดางตอรวง
           33.95 เปอรเซ็นต และเพิ่มจํานวนเมล็ดลีบตอรวง 1.16 เปอรเซ็นต เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม 1 (ใชนํ้าเปลา)
           ในขณะที่กรรมวิธีควบคุม 2 (วิธีปฏิบัติของเกษตรกรโดยการใชสารเคมี) สามารถเพิ่มจํานวนเมล็ดดีตอรวง 5.51 เปอรเซ็นต

           เพิ่มจํานวนเมล็ดทั้งหมดตอรวง 1.99 เปอรเซ็นต ลดจํานวนเมล็ดดางตอรวง 33.95 เปอรเซ็นต และเพิ่มจํานวนเมล็ดลีบ
           ตอรวง 1.16 เปอรเซ็นต เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม 1

                  5. การใชเชื้อรา T. asperellum สายพันธุ NST-009 รวมกับเชื้อแบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ B2 ใหผลตอบแทน
           ทางเศรษฐกิจดีที่สุด โดยใหผลกําไรตอไรไดมากที่สุด นั่นคือมีกําไรที่ 10,107.40 บาทตอไร ในขณะที่กรรมวิธีควบคุม 1
           (ใชนํ้าเปลา) และกรรมวิธีควบคุม 2 (วิธีปฏิบัติของเกษตรกรโดยการใชสารเคมี) ใหผลกําไรที่ 6,200.00 และ 6,721.80 บาท
           ตอไร ตามลําดับ

















                    A                                                 B


              ภาพที่ 3   A = การเตรียมเชื้อจุลินทรียปฏิปกษแขวนลอยสําหรับพนในแปลงนาวิจัย
                       B = การพนเชื้อจุลินทรียปฏิปกษในแปลงนาวิจัย


















                    A                                                 B


              ภาพที่ 4   A = การเจริญเติบโตของตนขาวพันธุสังขหยดพัทลุง ที่อายุ 130 วัน หลังหวาน
                       B = การเก็บเกี่ยวตัวอยางเมล็ดขาวเพื่อวิเคราะหขอมูลดานปริมาณและคุณภาพผลผลิตขาว



           

	 :
           ศูนยวิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรียแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) โทรศัพท 0 2579 1370 - 9

           ตอ 550 - 552 และ รองศาสตราจารย ดร.วาริน อินทนา สํานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร สาขาวิชาเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัย
           วลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช โทรศัพท 0 7567 3200, 0 7567 2301 ตอ 3200, 2301 E-mail : iwarin@wu.ac.th




         สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12