Page 9 - วช
P. 9
รอบรูงานวิจัย
ประสบการณ ทุนวิจัยไทย – เกาหลี
อาจารย ดร.อาธรณ วรอัด
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) และ งานวิจัยที่ผมทําในครั้งนี้ เปนการศึกษาสมบัติเทอรโม
มูลนิธิวิจัยแหงสาธารณรัฐเกาหลี (The National Research อิเล็กทริกฟลมบางของวัสดุกลุม Ge - Sb - Te ภายใตการ
Foundation of Korea, NRF) ไดตกลงความรวมมือรวมกัน พูกพูนที่อุณหภูมิสูง โดยเปนงานวิจัยตอยอดจากการศึกษา
ใหมีการแลกเปลี่ยนนักวิจัยระยะสั้น ภายใตโครงการความ ระดับปริญญาเอก ซึ่งขณะที่ศึกษาระดับปริญญาเอกนั้น
รวมมือกับตางประเทศ ไทย – เกาหลี (NRCT - NRF) โดยมี ก็ไดเดินทางไปทําวิจัยที่ CAPST ประเทศเกาหลีใตมาแลว
วัตถุประสงคเพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของความรวมมือ เปนเวลา 4 เดือน ในป พ.ศ. 2558 ดวยทุน โครงการปริญญาเอก
ดานการวิจัยระหวางประเทศไทยและสาธารณรัฐเกาหลี กาญจนาภิเษก (คปก.) ภายใตอาจารยที่ปรึกษา รองศาสตราจารย
รวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรูและ ดร.ทศวรรษ สีตะวัน และรองศาสตราจารย ดร.วีระศักดิ์
ประสบการณดานการวิจัยในประเทศไทยและสาธารณรัฐ ซอมขุนทด รวมกับ Professor Dr. Jeon Geon Han ซึ่งทาน
เกาหลีผานการทําวิจัยรวมกันของนักวิจัยอันจะนําไปสูการ Professor Dr. Jeon Geon Han เปนหัวหนานักวิจัยของ
ยกระดับความรวมมือระหวางนักวิจัยทั้งสองประเทศ ในป 2560 CAPST และมีความเชี่ยวชาญอยางยิ่งในการเตรียมฟลมบาง
อาจารย ดร.อาธรณ วรอัด สาขาวิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร ดวยเทคนิคตาง ๆ โดยเฉพาะเทคนิคแมกนีตรอนสปตเตอริ่ง
และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ไดรับการ ซึ่งปกติแลวฟลมบาง Ge - Sb - Te ขณะพอกพูนหรือเตรียมได
สนับสนุนทุนวิจัยในหัวขอเรื่อง “สมบัติเทอรโมอิเล็กทริก จะแสดงสมบัติเทอรโมอิเล็กทริกไดก็ตอเมื่อใหอุณหภูมิการอบ
ฟลมบางของ Ge Sb Te ภายใตการพูกพูนที่อุณหภูมิสูง ระหวาง 150 - 450 C แตงานวิจัยครั้งนี้ไดพัฒนาการเตรียม
o
5
2
2
(Thermoelectric Properties of Ge Sb Te Thin Films ฟลมบาง Ge - Sb - Te ใหอยูภายใตอุณหภูมิที่เหมาะสม จึง
2
5
2
within Deposition at High Temperature)” และไดเลาถึง แสดงสมบัติเทอรโมอิเล็กทริกโดยไมตองผานอุณหภูมิการอบ
ประสบการณในการรับทุนวิจัยในครั้งนี้ ดังนี้
อีกครั้ง ซึ่งทําใหลดขั้นตอนและเวลาในการเตรียมฟลมบาง
กระผมไดเดินทางไปทําวิจัยระยะสั้นที่ Center ไปสูการพัฒนาเปนอุปกรณเทอรโมอิเล็กทริกฟลมบางไดงายขึ้น
of Center of Advance Plasma Surface Technology นอกจากนี้ ยังมีความพรอมดานเครื่องมือวิจัยทําใหไดผลงาน
(CAPST) มหาวิทยาลัย Sungkyunwan เมือง Suwon ประเทศ ที่คอนขางเร็ว โดยผลการวิจัยสามารถลงพิมพในวารสารระดับ
เกาหลีใต ภายใตโครงการความรวมมือกับตางประเทศของ นานาชาติได 2 เรื่อง (ACS Applied Energy Materials 1,
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) และมูลนิธิวิจัยแหง (2018), 14025 - 4031 และ Journal of Alloys and Compound
สาธารณรัฐเกาหลี (The National Research Foundation of 763, (2018), 430 - 435) จึงขอขอบคุณโครงการ NRCT - NRF
Korea, NRF) ไทย-เกาหลี (NRCT-NRF) ประจําป พ.ศ. 2560 เปนอยางสูงที่ไดใหการสนับสนุนการทําวิจัย ทําใหสามารถ
ระหวางวันที่ 15 - 28 มิถุนายน 2560 (ระยะเวลา 14 วัน) ดําเนินงานวิจัยนี้ไดอยางตอเนื่อง ขอบคุณครับ
: อาจารย ดร.อาธรณ วรอัด สังกัด สาขาวิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร E-mail : a_thorn2008@hotmail.com และ athornvora-ud@snru.ac.th
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 9