Page 6 - วช
P. 6

งานวิจัยเพ� อประชาชน



              ภาพที่ 2
              ภาพที่ 2    ลักษณะของเชื้อแบคทีเรีย Bacillus subtilis สายพันธุ B2 ลักษณะของเชื้อแบคทีเรีย Bacillus subtilis
              A = เชื้อแบคทีเรีย B. subtilis เจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อ nutrient agar (NA) ที่อุณหภูมิหอง เปนเวลา 2 วัน
              B = ลักษณะของผงเชื้อแบคทีเรีย Bacillus subtilis ที่ผสมสารพาทัลคัมและกรองเปนผงเชื้อแลว



























                                  A                                                   B



                  1. การใชเชื้อรา T. asperellum สายพันธุ NST-009 รวมกับเชื้อแบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ B2 สามารถ
          ลดความรุนแรงของโรคไดดีที่สุด โดยลดความรุนแรงของโรคไหม โรคใบจุดสีนํ้าตาล โรคใบขีดสีนํ้าตาล และโรคกาบใบเนา

          ได 70.10, 66.13, 71.03 และ 74.62 เปอรเซ็นต ตามลําดับ เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม 1 (ใชนํ้าเปลา) ในขณะที่
          กรรมวิธีควบคุม 2 (วิธีปฏิบัติของเกษตรกรโดยการใชสารเคมี) ลดความรุนแรงของโรคทั้ง 4 โรคไดที่ 45.36, 50.00, 51.03
          และ 58.46 เปอรเซ็นต ตามลําดับ เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม 1

                  2. การใชเชื้อรา T. asperellum สายพันธุ NST-009 รวมกับเชื้อแบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ B2 สามารถ
          สงเสริมการเจริญเติบโตของตนขาวมากที่สุด โดยเพิ่มอัตราการงอกของเมล็ดขาว 24.48 เปอรเซ็นต ความสูงตนขาว 5.60

          เปอรเซ็นต ความยาวรากของตนขาว 10.88 เปอรเซ็นต นํ้าหนักสดตนขาว 23.01 เปอรเซ็นต นํ้าหนักแหงตนขาว 16.29
          เปอรเซ็นต นํ้าหนักสดรากขาว 33.25 เปอรเซ็นต นํ้าหนักแหงรากขาว 31.80 เปอรเซ็นต จํานวนตนตอกอของขาว 14.13
          เปอรเซ็นต เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม 1 ในขณะที่กรรมวิธีควบคุม 2 (วิธีปฏิบัติของเกษตรกรโดยการใชสารเคมี)

          มีอัตราการงอกของเมล็ดเพิ่มขึ้น 14.42 เปอรเซ็นต ความสูงเพิ่มขึ้น 1.38 เปอรเซ็นต ความยาวรากของตนขาวเพิ่มขึ้น 4.44
          เปอรเซ็นต นํ้าหนักสดตนขาวเพิ่มขึ้น 3.12 เปอรเซ็นต นํ้าหนักแหงตนขาวเพิ่มขึ้น 0.28 เปอรเซ็นต นํ้าหนักสดรากขาว
          เพิ่มขึ้น 1.02 เปอรเซ็นต นํ้าหนักแหงรากขาวเพิ่มขึ้น 1.72 เปอรเซ็นต และจํานวนตนตอกอของขาวเพิ่มขึ้น 1.66 เปอรเซ็นต
          เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม 1

                  3. การใชเชื้อรา T. asperellum สายพันธุ NST-009 รวมกับเชื้อแบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ B2 สามารถ

          เพิ่มปริมาณผลผลิตขาวไดมากที่สุด โดยเพิ่มความยาวรวง 9.03 เปอรเซ็นต จํานวนรวงตอพื้นที่ 1 ตารางเมตร 19.56 เปอรเซ็นต
          นํ้าหนักเมล็ด 50 รวง 13.75 เปอรเซ็นต นํ้าหนักเมล็ดตอพื้นที่ 1 ตารางเมตร 36.03 เปอรเซ็นต และปริมาณผลผลิตตอไร
          36.04 เปอรเซ็นต เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม 1 ในขณะที่กรรมวิธีควบคุม 2 (วิธีปฏิบัติของเกษตรกรโดยการ
          ใชสารเคมี) สามารถเพิ่มความยาวรวง 1.44 เปอรเซ็นต จํานวนรวงตอพื้นที่ 1 ตารางเมตร 2.67 เปอรเซ็นต นํ้าหนักเมล็ด
          50 รวง 5.26 เปอรเซ็นต นํ้าหนักเมล็ดตอพื้นที่ 1 ตารางเมตร 8.09 เปอรเซ็นต และปริมาณผลผลิตตอไร 8.09 เปอรเซ็นต

          เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม 1





                                                                                    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          6                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11