Page 8 - วช
P. 8

งานวิจัยเพ� อประชาชน


              การวิจัยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตหมอนยางพาราระดับชุมชน
              การวิจัยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตหมอนยางพาราระดับชุมชน
              การวิจัยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตหมอนยางพาราระดับชุมชน


                                                                                                  นายชาย คงแกว
                                                                                      สํานักงานสหกรณจังหวัดพัทลุง

                 ปจจุบันราคายางพาราตกตํ่าตอเนื่อง ทําใหรัฐบาลมีนโยบายแกไขปญหาอยางเรงดวน การสรางมูลคาเพิ่ม
          ของยางพาราจึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งในเวลานี้ และเพื่อแกไขปญหาดังกลาวการใชงานวิจัยเพื่อแปรรูปผลผลิต
          ยางพาราจึงเกิดขึ้นในรูปแบบตาง ๆ ซึ่ง “หมอนยางพาราเพื่อสุขภาพ” ก็เปนอีกทางเลือกหนึ่งเพื่อชวยเหลือเกษตรกร
          ผูปลูกยางพารา ซึ่งโครงการวิจัยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตหมอนยางพาราระดับชุมชน โดยนายชาย คงแกว ผูวิจัย

          แหงสํานักงานสหกรณจังหวัดพัทลุง ผูริเริ่มแปรรูปหมอนยางพาราเพื่อสุขภาพ สรางมูลคาเพิ่มจากผลผลิตยางพารา
          ในระดับชุมชนโดยคนทองถิ่น


          รายละเอียดสิ่งประดิษฐ                                            ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย

                หมอนยางพาราเพื่อสุขภาพ ผลิต                                       จากการวิจัยดังกลาวทําใหสามารถ
         จากยางพาราแท ลักษณะตัวหมอนยางพารา                               เพิ่มกําลังการผลิตและเพิ่มมูลคายางพาราได
         เปนปุมเหมือนรังใสไข และใตฐานมีชอง                          เปนอยางดี โดยการแปรรูปหมอนยางพาราเพื่อ

         ระบายอากาศอยางดี มีความนุมและยืดหยุนสูง                       สุขภาพซึ่งเปนที่ตองการของตลาดทั้งในและ
         รองรับสรีระเวลานอนสบาย ไมปวดเมื่อย                              ตางประเทศ และไดปรับปรุงระบบการผลิต
         รองรับและโอบกระชับศีรษะอยางสมบูรณ                              หมอนยางพาราระดับชุมชนใหไดมาตรฐาน
         แบบทุกทวงทาการนอน ชวยในการไหลเวียน                            ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) เรียบรอยแลว
         เลือด ระบายอากาศไดดี ปราศจากไรฝุน                              ทําใหสามารถเพิ่มมูลคายางพารา จากเดิม

         และแบคทีเรีย ชวยใหศีรษะเย็นสบาย ลดการ                          30 บาท/กก. เพิ่มเปน 300 บาท/กก. และขยาย
         นอนกรน มีอายุการใชงานประมาณ 10 ป                               กําลังการผลิตไดเพียงพอตอความตองการของ
                                                                          ตลาด โดยผลิตหมอนยางพาราไดไมนอยกวา
          การดําเนินงาน
                ผูวิจัยไดปรับปรุงระบบการผลิต โดย                        300 ใบ/วัน สงผลใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่ม

         การเพิ่มกําลังการผลิตจาก 100 – 200 ใบ/วัน                        มากขึ้น ชุมชนเขมแข็ง สถาบันเกษตรกรเขมแข็ง
         เปน 300 - 400 ใบ/วัน โดยใชเครื่องฉีดโฟม                        เปนที่พึ่งพาของชุมชนอุตสาหกรรม โดย
         ทดแทนเครื่องปนโฟมแบบเดิม และปรับปรุง                           กลุมอาชีพสหกรณบานพังดานเปดจุดสาธิต

         ระบบการผลิตใหไดมาตรฐานมากขึ้น โดย                              การแปรรูปหมอนยางพาราใหกับองคกรตาง ๆ
         ผลิตหมอนยางพาราใหไดคุณภาพ ลดกลิ่น                              เขามาเรียนรู
         ควบคุมนํ้าหนักหมอนใหไดมาตรฐาน โดย                                      ผลงานวิจัยเรื่อง “การวิจัยเพิ่ม
         การปรับตูนึ่ง ระบบการลาง ทําความสะอาด                          ประสิทธิภาพการผลิตหมอนยางพาราระดับ
         หมอน และเครื่องอบแหงไลความชื้น จน                              ชุมชน” ไดขึ้นทะเบียนในโครงการที่ไดรับ

         ผลิตภัณฑไดรับรองมาตรฐาน รวมถึงพัฒนา                            การสนับสนุนเพื่อพัฒนาสิ่งประดิษฐในบัญชี
         ระบบการผลิตใหโรงงานไดรับมาตรฐาน                                สิ่งประดิษฐไทยใหขึ้นสูบัญชีนวัตกรรมไทย
         โรงงาน และพัฒนาผลิตภัณฑใหไดมาตรฐาน                            ประจําป 2559 – 2560 ดานเกษตรกรรม ของ

         ตรงกับความตองการของตลาด                                         สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)



          

	 :
          นายชาย คงแกว กลุมสงเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ สํานักงานสหกรณจังหวัดพัทลุง ชั้น 5 ถนนราเมศวร ตําบลคูหาสวรรค
          อําเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 93000 โทรศัพท 0 7461 4211  โทรศัพท มือถือ 09 1776 7685  E-mail : chay@cpd.go.th


                                                                                    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13