Page 4 -
P. 4

งานวิจัยตามนโยบายรัฐบาล








         ไมแหง เสี่ยงตอการเสื่อมคุณภาพได ซึ่งในกรณีของผูประกอบการ
         รับซื้อขนาดใหญสามารถจัดการกับปญหาดังกลาวไดโดย

         ใชเครื่องอบแหงแบบลมรอนที่มีอยูหลายประเภทในการลด
         ความชื้นผลผลิตกอนการเก็บรักษา แตในสวนของกลุมเกษตรกร
         รายยอย สหกรณการเกษตร รวมถึงผูประกอบการรับซื้อขนาด
         เล็กนั้น ไมสามารถทําไดเนื่องจากใชเงินลงทุนคอนขางมาก

         ดังนั้น การนําเทคโนโลยีสมัยใหมมาผสมผสานการทํางานกัน
         เปนแนวทางหนึ่งที่สามารถทําใหเครื่องอบแหงมีประสิทธิภาพ
         สูงขึ้นและมีราคาถูกลงได ทําใหกลุมเกษตรกรและผูประกอบการ
         สามารถมีเครื่องอบแหงที่เหมาะสมกับกําลังการผลิตได

                 โครงการวิจัยนี้มีจุดมุงหมายเพื่อออกแบบ สราง และ
         ทดสอบความสามารถในการทํางานของเครื่องอบแหงแบบถัง
         ทรงกระบอกหมุนดวยรังสีอินฟราเรดรวมกับลมรอนปลอยทิ้ง       ผลงานวิจัย “เครื่องอบแหงแบบถังทรงกระบอกหมุน
         โดยเปนอุปกรณที่สามารถเคลื่อนยายไปยังสถานที่ตาง ๆ ได  ดวยรังสีอินฟราเรดรวมกับลมรอนปลอยทิ้งแบบเคลื่อนยายได”

         สําหรับใชในการอบแหงผลผลิตทางการเกษตรที่เปนเม็ดหรือ นี้ เปนประโยชนตอการสนับสนุนและสงเสริมเกษตรกร
         เมล็ด โดยลักษณะการทํางานมีเกลียวลําเลียงสําหรับปอนวัสดุ ในกระบวนการเก็บรักษาผลผลิต  ลดระยะเวลาการลด
         เขาสูถังอบแหงทรงกระบอกหมุนที่ภายในติดตั้งอุปกรณลําเลียง  ความชื้นของเมล็ดพันธุไดเปนอยางดี สามารถประยุกตใชไดทั้ง
         สองชวง คือ ชวงที่หนึ่งเกลียวลําเลียงซึ่งติดตั้งขดวนรอบในถัง  ขาวเปลือก ขาวโพด มันสําปะหลัง และถั่วตาง ๆ รวมถึง

         และ ชวงที่สองติดตั้งใบโปรยวัสดุตามแนวรัศมีของตัวถัง ปุยอัดเม็ด เชื้อเพลิงอัด ชิ้นสวนวัสดุสามารถผลิตไดภายใน
         สําหรับโปรยเมล็ดพืชในขณะเคลื่อนที่ตามการหมุนของถัง  ประเทศ เกิดความคุมคาของการใชพลังงาน อัตราผลิต 2 – 5 ตัน
         ในสวนแรกนั้นติดตั้งเบอรเนอรอินฟราเรดสําหรับแผรังสีให ของวัสดุตอชั่วโมง โดยไดติดตั้งเครื่องอบแหงฯ ใหแกชุมชน
         ความรอน สวนชวงที่สองนั้นจะดึงเอาแกสรอนจากการเผาไหม ศูนยผลิตเมล็ดพันธุขาวชุมชนบานโนนรัง จังหวัดขอนแกน

         ของเบอรเนอรอินฟราเรดโดยใชพัดลมเปาจากปลายถังใหพา และชุมชนบานหนองชาง จังหวัดรอยเอ็ด และจัดใหมีการ
         ลมรอนผานไปที่สวนที่สองของถังทําใหเกิดการอบแหงดวย ฝกอบรมเชิงปฏิบัติการการอบแหงขาวเปลือก ใหแก กลุม
         ลมรอนกับเมล็ดพืชที่โปรยตกลงมาตามแรงโนมถวงตลอด ชาวนา 4 จังหวัด ไดแก จังหวัดรอยเอ็ด จังหวัดขอนแกน จังหวัด
         การเคลื่อนที่ เมื่อวัสดุไหลออกจากปลายถังหมุนจะมีเกลียว มหาสารคาม และจังหวัดกาฬสินธุ เปนการสงเสริมการผลิต

         ลําเลียงนําวัสดุที่ผานการอบแหงออก มีความสามารถในการ ใหมีคุณภาพดี มีมาตรฐานของกลุมเกษตรกรและผูประกอบการ
         ทํางาน 0.5 – 3 ตันตอชั่วโมง ขึ้นอยูกับวัสดุ เครื่องอบแหง รับซื้อผลผลิตรายยอย อันจะเปนประโยชนตออุตสาหกรรม
         ใชพลังงานจากแกสแอลพีจีประมาณ 1.2 กิโลกรัมตอชั่วโมง  การผลิตในภาคการเกษตรของประเทศตอไป นอกจากนี้
         ใชกระแสไฟฟา 3,500 วัตต สามารถลดความชื้นไดรอบละ  “เครื่องอบแหงแบบถังทรงกระบอกหมุนดวยรังสีอินฟราเรด

         3 - 6 เปอรเซ็นตฐานเปยก ใชพลังงานจําเพาะรวม 4.38 เมกะจูล  รวมกับลมรอนปลอยทิ้งแบบเคลื่อนยายได” ไดขึ้นทะเบียน
         ตอกิโลกรัมนํ้าระเหย คาใชจายรวม 366 บาทตอตันสําหรับ ในโครงการที่ไดรับการสนับสนุนเพื่อพัฒนาสิ่งประดิษฐ
         กรณีใชงานตํ่าสุด 4 ตันตอวัน และมีจุดคืนทุน 6 ป 7 เดือน  ในบัญชีสิ่งประดิษฐไทยใหขึ้นสูบัญชีนวัตกรรมไทย ประจําป
         12 วัน ในกรณีใชงานเครื่อง 120 วันตอป              2559 – 2560 ดานเกษตรกรรม ของสํานักงานคณะกรรมการ

                                                              วิจัยแหงชาติ (วช.) อีกดวย

                 ผูสนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ : ผูชวยศาสตราจารย ดร.จักรมาส  เลาหวณิช คณะวิศวกรรมศาสตร
          มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตําบลขามเรียง อําเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150 โทรศัพท 0 4375 4316
          โทรศัพทมือถือ 08 1544 4408 E-mail : juckamas.l@msu.ac.th


                                                                                    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          4                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9