Page 8 -
P. 8

งานวิจัยเพ� อประชาชน


          แสดงภาพ (Viewer) ซึ่งเครื่องดังกลาวไดผานการตรวจสอบ(Viewer) ซึ่งเครื่องดังกลาวไดผานการตรวจสอบ
          แสดงภาพ                                              ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย
          ความปลอดภัยทางปริมาณรังสีจากกองรังสีและเครื่องมือแพทย   1.  ทันตแพทยมีความมั่นใจในการวินิจฉัยรักษาและสามารถ
          กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ความปลอดภัย    วางแผนการรักษาทางทันตกรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ

          ทางระบบไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส จากศูนยทดสอบผลิตภัณฑ   มากยิ่งขึ้น
          ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (PTEC) และไดผานการทดสอบทางคลินิก   2.  สามารถยกระดับคุณภาพชีวิตผูปวยไทยใหมีคุณภาพชีวิต
          ในมนุษยเรียบรอยแลว                                  ที่ดีขึ้น เนื่องจากผูปวยมีโอกาสไดรับการรักษาและวินิจฉัยโรค
                 ปจจุบันเครื่องเดนตีสแกนมี 2 รุน สําหรับรุนแรกเรียก   ดวยเทคโนโลยีระดับสูง เพราะปจจุบันการถายภาพรังสี
          เครื่องเดนตีสแกน 1.1 ไดถูกติดตั้ง 3 แหง ไดแก คณะทันตแพทยศาสตร   เพื่อการรักษาและวินิจฉัยโรคทางทันตกรรมนั้น อาศัยขอมูล
          มหาวิทยาลัยเชียงใหม เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2554, ศูนยทันตกรรม  Panoramic เปนสวนใหญ ซึ่งภาพถายแบบ Panoramic
          เอสดีซีประชาชื่น กรุงเทพมหานคร เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2554   ใหขอมูลแบบ 2 มิติเทานั้น ซึ่งอาจสงผลใหการรักษาเกิด

          และโรงพยาบาลธรรมศาสตรเฉลิมพระเกียรติ เมื่อเดือนธันวาคม   ขอผิดพลาดได แตภาพถายเอกซเรยคอมพิวเตอรทางทันตกรรม
          พ.ศ. 2556 และสําหรับรุนที่ 2 เรียก เครื่องเดนตีสแกน 2.0   ใหขอมูลแบบ 3 มิติ ทําใหสามารถมองเห็นฟนไดทุกมุมมอง
          ไดถูกติดตั้ง 4 แหง ไดแก สถาบันทันตกรรม กระทรวงสาธารณสุข   ดังนั้น ภาพถายจากการเอกซเรยคอมพิวเตอรทางทันตกรรม
          เปดใหบริการเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2560, โรงพยาบาลแพร   จึงทําใหทันตแพทยสามารถวินิจฉัยโรคไดแมนยํา ตลอดจน
          เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2560, โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี   สามารถวางแผนการผาตัดทางทันตกรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ
          ณ ศรีราชา สภากาชาดไทย เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560 และ  มากกวาภาพถายแบบ Panoramic ทําใหโอกาสเสี่ยง
          โรงพยาบาลสกลนคร เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2560 ทั้งนี้ เครื่อง  ในการผาตัดและการวินิจฉัยโรคผิดพลาดลดลงตามไปดวย
          เดนตีสแกนรุน 1.1 และรุน 2.0 ไดเปดใหบริการในผูปวยมากกวา
          4,000 ครั้ง สําหรับเครื่องเดนตีสแกนรุน 2.0 ไดรับการรับรอง   3.  ผูปวยไดรับปริมาณรังสีตํ่ากวาการใช Medical CT

          มาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับเครื่องมือแพทย ISO   4.  เปนการสรางความมั่นใจใหแกภาครัฐและภาคเอกชน
          13485 แลวเมื่อเดือนเมษายน 2559 โดยเครื่องเดนตีสแกน    ในการลงทุนเทคโนโลยีที่มีการวิจัยและพัฒนาในประเทศไทย
          ที่สถาบันทันตกรรมและโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี       ทั้งในสวนของการบริการทางการแพทย และในสวนของ
          ณ ศรีราชา สภากาชาดไทย ไดรับการสนับสนุนทุนอุดหนุนการทํา  อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องมือแพทย
          กิจกรรมสงเสริมและสนับสนุนการวิจัย ประจําปงบประมาณ 2559    5.  ลดการสูญเสียเงินตราใหตางประเทศ  จากการนําเขา
          ภายใตโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย/เปาหมายรัฐบาลและ      เครื่องมือแพทยจากตางประเทศ
          ตามระเบียบวาระแหงชาติ ในกลุมเรื่องการพัฒนาสินคานวัตกรรม

          และสิ่งประดิษฐ ประจําป 2559 จากสํานักงานคณะกรรมการวิจัย  นอกจากนี้ ผลงานวิจัยเรื่อง “การผลิตเครื่องเดนตีสแกน
          แหงชาติ (วช.)                                      2.0 เพื่อสรางความเชื่อมั่นใหแกผูใช” ยังไดรับการขึ้นทะเบียน
                                                              ในโครงการที่ไดรับการสนับสนุนเพื่อพัฒนาสิ่งประดิษฐในบัญชี

                                                              สิ่งประดิษฐไทยใหขึ้นสูบัญชีนวัตกรรมไทย ประจําป 2559 – 2560
                                                              ดานการแพทยและสาธารณสุข ของสํานักงานคณะกรรมการวิจัย
                                                              แหงชาติ (วช.) อีกดวย






                                                                      ผูŒสนใจสามารถสอบถามขŒอมูลเพิ่มเติมไดŒที่  :
                                                               ดร.เสาวภาคย  ธงวิจิตรมณี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร

                                                               และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) เลขที่ 112 อุทยาน
                                                               วิทยาศาสตรประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตําบลคลองหนึ่ง
                                                               อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120
                                                               โทรศัพทมือถือ 08 1720 4178 และ 08 1269 6367
                                                               E-mail : saowapak.thongvigitmanee@nectec.or.th




                                                                                    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13