Page 7 -
P. 7

งานวิจัยเพ� อประชาชน


                  การผลิตเครื่องเดนตีสแกน 2.0
                  การผลิตเครื่องเดนตีสแกน 2.0
                  การผลิตเครื่องเดนตีสแกน 2.0

                 เพื่อสรางความเชื่อมั่นใหแกผูใช*



                 การมีเครื่องมือแพทยที่ดีและทันสมัยเปšนสิ่งจําเปšนอย‹างยิ่งสําหรับแพทยผูŒใหŒการ
          รักษาผูŒป†วย เพื่อช‹วยในการตรวจวิเคราะหวินิจฉัยโรคไดŒอย‹างแม‹นยําและน‹าเชื่อถือ ในดŒาน
          ทันตกรรมเครื่องเอกซเรยคอมพิวเตอรที่สามารถใชŒในการวินิจฉัยโรคและวางแผนการรักษาในงาน
          ทันตกรรม อาทิ รากฟ˜นเทียม การผ‹าฟ˜นคุด และการผ‹าตัดบริเวณช‹องปาก ขากรรไกร และใบหนŒา ซึ่ง
          เครื่องเอกซเรยคอมพิวเตอรที่มีความสามารถดังกล‹าวตŒองนําเขŒาจากต‹างประเทศและมีราคาสูงมาก



                                                               รายละเอียดผลงานวิจัย
                                                               รายละเอียดผลงานวิจัย
                 ปจจุบันนักวิจัยไทยสามารถผลิตเครื่องเอกซเรยคอมพิวเตอร  รายละเอียดผลงานวิจัย
          สามมิติแบบลํารังสีทรงกรวยสําหรับงานทันตกรรม (Dental Cone   เดนต
                                                                     เดนต
                                                                     เดนต
                                                                     เดนตีสแกน (DentiScan) คือ เครื่องเอกซเรยคอมพิวเตอรีสแกน (DentiScan) คือ เครื่องเอกซเรยคอมพิวเตอรีสแกน (DentiScan) คือ เครื่องเอกซเรยคอมพิวเตอรีสแกน (DentiScan) คือ เครื่องเอกซเรยคอมพิวเตอรีสแกน (DentiScan) คือ เครื่องเอกซเรยคอมพิวเตอร
                                                                     เดนต
          - Beam CT) เครื่องแรกของประเทศไทยที่วิจัย พัฒนา และผลิตโดย  สามมิติแบบลํารังสีทรงกรวยสําหรับงานทันตกรรม (Dental Cone
                                                              สามมิติแบบลํารังสีทรงกรวยสําหรับงานทันตกรรม (Dental Cone
          ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (เนคเทค)   - Beam CT) เครื่องเดนตีสแกนใหขอมูลอวัยวะภายในแบบสามมิต
                                                              - Beam CT) เครื่องเดนตีสแกนใหขอมูลอวัยวะภายในแบบสามมิติิ
          และศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (เอ็มเทค) ภายใต  และไมมีการบิดเบือนของขอมูล ซึ่งแตกตางจากเครื่องถายภาพ
                                                              และไมมีการบิดเบือนของขอมูล ซึ่งแตกตางจากเครื่องถายภาพ
          สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.)   เอกซเรยแบบสองมิติที่ใชกันทั่วไป ทําใหการวินิจฉัยโรคและ
          ไดวิจัยและพัฒนาตนแบบเครื่องเอกซเรยคอมพิวเตอรสําหรับ  วางแผนการผาตัดมีความแมนยํามากขึ้น แผลมีขนาดเล็ก และ
          งานทันตกรรมที่มีชื่อเรียกวา “เดนตีสแกน (DentiiScan)” ตั้งแตป   ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น สามารถใชในการวินิจฉัยโรคและวางแผน
          2550 เปนผลสําเร็จรายแรกในประเทศไทย โดยเนคเทคเปนผูพัฒนา  การรักษาในงานทันตกรรมรากฟนเทียม การผาฟนคุด และ
          ซอฟตแวร สวนเอ็มเทคเปนผูพัฒนาฮารดแวร          การผาตัดบริเวณชองปาก ขากรรไกร และใบหนา เปนตน นอกจาก

                 การขยายผลการใชงานเครื่องเดนตีสแกนมุงเสริมสราง  การใชงานทางดานทันตกรรมแลว เครื่องเดนตีสแกนสามารถนํามา
          ขีดความสามารถในพัฒนาอุตสาหกรรม เครื่องมือและบริการ  ประยุกตใชในดานหู คอ จมูก (ENT) เชน การตรวจดูความผิดปกติ
          ทางการแพทย เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายศูนยสุขภาพแหงเอเชีย   ของไซนัส เปนตน ผูปวยที่ถูกถายดวยเครื่องเดนตีสแกนจะไดรับ
          (Health Hub of Asia) นอกจากชวยลดการนําเขาเครื่องเอกซเรย  ปริมาณรังสีที่ตํ่ากวาเครื่องเอกซเรยคอมพิวเตอรทางการแพทยมาก
          คอมพิวเตอรจากตางประเทศซึ่งมีราคาสูงมาก ยังเปนการพัฒนา   เครื่องเดนตีสแกนใชรังสีเอกซที่มีลํารังสีแบบทรงกรวย
          กระบวนการตาง ๆ ที่ใชในการพัฒนาเครื่องเอกซเรยคอมพิวเตอร  และฉากรับภาพรังสี (Flat panel X-ray detector) ซึ่งตั้งอยู
          และธุรกิจที่เกี่ยวของใหเกิดขึ้นและนําไปสูการสรางอุตสาหกรรม  ตรงกันขามกัน โดยอุปกรณทั้งสองจะหมุนไปพรอม ๆ กัน รอบผูปวย

          การแพทยขั้นสูงใหเกิดขึ้นในประเทศในที่สุด โดยการขยายผล  1 รอบ ใชเวลา 18 วินาที เพื่อเก็บขอมูลดิบในแตละมุมมอง จากนั้น
          การใหบริการกับโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและ  นําขอมูลดิบที่ไดมาผานอัลกอริทึมในการสรางภาพตัดขวาง (Image
          โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย จะชวยยกระดับเทคโนโลยีการวินิจฉัย  Reconstruction) เพื่อสรางภาพตัดขวางที่เปนขอมูลสามมิติ
          และการรักษาผูปวยทางทันตกรรมใหกาวสูมาตรฐานการรักษา  บริเวณชองปาก ขากรรไกร และใบหนาของผูปวย ภาพตัดขวางที่ได
          ในระดับนานาชาติ ลดความเหลื่อมลํ้าทางสังคมโดยเพิ่มโอกาสให  จะถูกแสดงผลในมุมมองสองมิติและสามมิติ โดยผานซอฟตแวร
          ผูปวยคนไทยในภูมิภาคตาง ๆ เขาถึงเทคโนโลยีการรักษา เผยแพร
          เทคโนโลยีซึ่งรวมถึงการขยายผลงานวิจัยและพัฒนาใชงานเครื่อง
          เอกซเรยคอมพิวเตอรสามมิติทางทันตกรรมในโรงพยาบาลที่มี
          ศักยภาพและมีความตองการใชเทคโนโลยีดังกลาว และเพื่อรองรับ

          แนวโนมความตองการเครื่อง Dental CBCT Scanner ที่จะเพิ่ม
          มากขึ้น ตามแนวโนมการเติบโตของการทํารากฟนเทียมตอไป
          ในอนาคต อีกทั้งยังเปนการผลักดันใหเกิดอุตสาหกรรมการแพทย
          ขั้นสูงในประเทศอีกดวย

         * ดร.เสาวภาคย  ธงวิจิตรมณี และคณะ
           สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.)                               (อานตอหนา 8)

         สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12