Page 6 -
P. 6

งานวิจัยเพ� อประชาชน


                                                              การทดลองปลูกโดยใชŒเครื่องปลูกมันสําปะหลังชุมชน
              ปรับปรุงระบบควบคุมความเร็วรอบของชุดโรเลอรฟ‚ต           การปลูกมันสําปะหลัง ไดทําการทดลองในพื้นที่
         1. ท‹อนพันธุ                                         เพาะปลูก 1 ไรตอการปลูกที่ 5 แถว จํานวนทอนพันธุ 40 ทอน

                 เครื่องปลูกมันสําปะหลังชุมชนถูกปรับปรุงระบบ   โดยใชความเร็วรถแทรกเตอรเกียร 1 ตํ่า ใชเวลาทํางานเฉลี่ย
          ความเร็วรอบของชุดโรเลอรฟตทอนพันธุ โดยเพิ่มระบบ   27 นาที มุมเอียงของทอนพันธุมันสําปะหลังการปลูกในแตละแถว
          ไฮดรอลิกสติดเขาไปทํางาน โดยใชกําลังขับจากเพลา PTO   มีมุมเอียงจากแนวดิ่งไมเกิน 10 องศา มีคาเฉลี่ย 95% จํานวน
          ผานระบบไฮดรอลิกส เพื่อเพิ่มความเร็วรอบของชุดโรเลอรฟต  ที่ตนพันธุลมหรือขาดหายมีคาเฉลี่ย 0% คุณภาพของทอนพันธุ
          ทอนพันธุ โดยการหรี่วาลวไฮดรอลิกส ทําใหสามารถกําหนด  มันสําปะหลังกับการปลูก จํานวนทอนพันธุที่ปกตั้ง และ

          ความเร็วรอบไดตามกําหนด ซึ่งถาเปนสภาพดินเหนียวปนทราย   ฝงในดินที่ใชปลูกมีคาเฉลี่ย 100% ระยะหางระหวางแถว
          จะเซ็ตรอบความเร็วรอบของตัวโรเลอรฟต ที่ประมาณ 750 รอบ  มีคาเฉลี่ย 98 เซนติเมตร ระยะหางระหวางตนมีคาเฉลี่ย 98.8
          ตอนาที แตการปลูกในดินเหนียวปนหินลูกรังนั้น ตองใช  เซนติเมตร ซึ่งใกลเคียงกับที่กําหนดไวคือ 100 เซนติเมตร

          ความเร็วรอบของตัวโรเลอรฟตที่สูงขึ้น ชึ่งตองใชประมาณ   ความลึกของการปลูกทอนพันธุมีคาเฉลี่ย 7.6 เซนติเมตร ซึ่ง
          1,000 รอบตอนาที เพื่อจะทําการปกทอนพันธุในระยะที่  เปนระยะที่เหมาะสมที่สุดในการงอกของราก คํานวณความ
          เหมาะสมตอการงอกของรากโดยมีความลึกเฉลี่ยประมาณ       สามารถการทํางานจริงของเครื่องปลูกมันสําปะหลังมีคาเฉลี่ย
          7 เซนติเมตร จึงทําใหเห็นถึงขีดความสามารถของเครื่อง ที่สามารถ  2.24 ไรตอชั่วโมง อัตราการสิ้นเปลืองนํ้ามันเชื้อเพลิง
          ปรับใชไดกับทุกสภาพของดินที่ตองการทําการเพาะปลูกได  ในกระบวนการเพาะปลูกมีคาเฉลี่ย 6.52 ไรตอลิตร

          อยางแนนอน
                                                              ประโยชนที่ไดŒรับจากงานวิจัย
               พัฒนาระบบ Automation เพื่อการเก็บขŒอมูล และนํามา
                                                                      เครื่องปลูกมันสําปะหลังชุมชนที่ไดพัฒนาแลว
         2. วิเคราะหขŒอมูลผลในเชิงวิศวกรรม และในเชิงเศรษฐศาสตร   สามารถตอยอดในเชิงพาณิชยได มีประโยชนตอชุมชน
          เพื่อต‹อยอดในเชิงพาณิชย                             เกษตรกรผูปลูกมันสําปะหลัง มีประสิทธิภาพ ทําใหปลูกได
                 โดยการเพิ่มจํานวนชุดนับทอนพันธุ และการติดตั้ง

          ระบบเก็บขอมูลการปลูก พรอมดวยหนาจอแสดงผลการปลูก   รวดเร็ว ทันตอฤดูกาล ลดตนทุนในการผลิตไดถึง 400 บาท
                                                               ตอไร และสามารถปลูกมันสําปะหลังไดถึง 12 - 158 ไรตอวัน
          ในแตละครั้งนั้น ระบบนี้สามารถคํานวณปริมาณปุย นํ้ายา  ใชแรงงานคนเพียงแค 3 คน โดยมีการทดสอบเครื่องปลูก
          ควบคุมวัชพืช และนํ้ามันที่ใชไปในการปลูกแตละครั้งได เพื่อ  มันสําปะหลังกับชุมชนเกษตรกรปลูกมัน ที่จังหวัดชัยภูมิ

          นํามาคํานวณตนทุน โดยสามารถคํานวณตนทุนการผลิตใหกับ  นครราชสีมา ขอนแกน และกาฬสินธุ และผูที่สนใจลงทุน
          เกษตรกรทราบไดทันทีหลังจากดําเนินการเพาะปลูกเสร็จสิ้น  ผลิตเครื่องปลูกสําปะหลังนี้สามารถตอยอดสูเชิงพาณิชยได
          ในแตละครั้ง พรอมเก็บขอมูลสถิติการเพาะปลูก เพื่อนํามา  เนื่องจากทุกชิ้นสวนของเครื่องจักรมีแบบพิมพเขียวพรอม
          เปรียบเทียบ และปรับปรุงการเพาะปลูกในอนาคต เพื่อเพิ่ม  ผลิตแลว
          ประสิทธิภาพทางการเพาะปลูก และการเพิ่มผลผลิต
                                                                      ผลงานวิจัยเรื่อง “เครื่องปลูกมันสําปะหลังชุมชน”
                                                               ไดขึ้นทะเบียนในโครงการที่ไดรับการสนับสนุนเพื่อพัฒนา
                                                                               สิ่งประดิษฐในบัญชีสิ่งประดิษฐไทย
                                                                                    ใหขึ้นสูบัญชีนวัตกรรมไทย ประจําป

                                                                                     2559 – 2560 ดานเกษตรกรรม
                                                                                      ของสํานักงานคณะกรรมการ
                                                                                         วิจัยแหงชาติ (วช.)








                 ผูŒสนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดŒที่ : ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐวุฒิ เดไปวา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
          พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง เลขที่ 1 ถนนฉลองกรุง แขวงลําปลาทิว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520
          โทรศัพท 0 2329 8351 โทรศัพทมือถือ 08 6778 3931 Email : kdnattaw@kmitl.ac.th

                                                                                    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          6                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11